เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
นางสาวพรศิริ ดีเลิศ
ตำแหน่ง ครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ปีการศึกษา 2567
ภาคเรียนที่ 2/2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 15.83 (19คาบ) ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชา ว21212 วิทยาศาสตร์อัจฉริยภาพ (เคมี) จำนวน 2 คาบ/สัปดาห์
รายวิชา ว21104 วิทยาศาสตร์ จำนวน 6 คาบ/สัปดาห์
รายวิชา ว30223 เคมี จำนวน 9 คาบ/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนานักเรียน
รายวิชา กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 1 คาบ/สัปดาห์
รายวิชา กิจกรรมชุมนุม จำนวน 1 คาบ/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
ภาคเรียนที่ 1/2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.67 (20 คาบ) ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชา ว21103 วิทยาศาสตร์ จำนวน 4 คาบ/สัปดาห์
รายวิชา ว21216 วิทยาศาสตร์ จำนวน 2 คาบ/สัปดาห์
รายวิชา ว30123 วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) จำนวน 2 คาบ/สัปดาห์
รายวิชา ว30226 วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) จำนวน 1 คาบ/สัปดาห์
รายวิชา ว30222 เคมี จำนวน 9 คาบ/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนานักเรียน
รายวิชา กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 1 คาบ/สัปดาห์
รายวิชา กิจกรรมชุมนุม จำนวน 1 คาบ/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้เรื่องน้ำ รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) ว30123 โดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ และวิธีสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (5Es) ร่วมกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยใช้กิจกรรมเกมต่อจิ๊กซอว์ไอออนบวกและไอออนลบ เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถเข้าใจเรื่องผลรวมประจุของสารประกอบไอออนิกจะต้องเป็นศูนย์ (เป็นกลางทางไฟฟ้า) นำมาซึ่งการเขียนสูตรและอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกที่ถูกต้องได้
ประเด็นท้าทายเรื่อง :
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้โดยการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ท้องถิ่น และเหมาะกับผู้เรียน
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ เคมี (ว30123)
ใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อ
คุณภาพผู้เรียน
การจัดกิจกรรมโฮมรูมเช้าทุกวันและส่งเสริม
ให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างหลากหลาย
มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทยที่ดีงาม
2.4 ประสานความร่วมมือ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ
1) จัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้งเพื่อติดตามแก้ไขปัญหา
ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
2) มีการเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกภาคเรียน เพื่อติดตามแก้ไขปัญหา ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง